เรื่องใกล้ตัวที่เป็นประโยชน์แก่ผู้ประกันตน แต่น้ อย คนจะรู้ถึงสิทธิประโยชน์และไม่ค่อยมีคนทราบมากนัก เกี่ยวกับเงิ นทดแทนสำหรับผู้ต กง าน ลูกจ้างต้องรู้ ใครที่ต กง าน เลิกจ้าง ลาออก สามารถขอรับเงิ นได้ 45,000 บ าท เพียงทำต ามนี้ อย่ าช้าเพื่อเตรียมตัวเตรียมเอกสารเดินไปสำนักง านประกันสังคมใกล้บ้านกันได้เลย สิทธินี้มีครอบคลุมถึงแรงง านต่างด้าวในระบบที่ส่งประกันสังคมไม่น้อยกว่า 6 เดือนด้วย อย่ าลืม!!! บอกต่อเพื่อนๆร่วมง านกันด้วยนะครับสำหรับเรื่องสิทธิประโยชน์ดีๆแบบนี้
ลูกจ้างลาออกหรือถูกบังคับให้ลาออก ลูกจ้างจะได้รับเงิ นก้อนนี้เพียงแค่ 13,500 บ าทเท่านั้น (ประกันสังคมจ่าย 30%ของเงิ นเดือนแต่ไม่เกินยอดเงิ นเดือน 15,000 บ าทเป็นเวลา 3 เดือน) ลูกจ้างถูกเลิกจ้างหรือไล่ออกโดยไม่มีเหตุลูกจ้างจะได้สิทธิรับเงิ นก้อนนี้สูงสุดถึง 45,000 บ าททีเดียว (ประกันสังคมจ่าย 50%ของเงิ นเดือนแต่ไม่เกินยอดเงิ นเดือน 15,000 บ าท เป็นเวลา 6 เดือน)
หลักฐานประกอบไม่ยุ่งย ากหลักๆคือบัตรประชาชน,รูปถ่าย1 นิ้ว 1 รูปและ สมุดบัญชีเงิ นฝากเท่านั้นเอง ถ้ามีหนังสือเลิกจ้างก็เอาไปด้วยนะถ้าไม่มีไม่เป็นไรและสำคัญที่สุดต้องยื่นภายใน 30 วันนับแต่ต กง านนะครับ ถ้าไปช้าเข าตัดสินเลย เลยจากนั้นก็หมดสิทธิ ใครต กง านตอนนี้รีบๆ ไปติดต่อได้เลยอย่ างน้อยก็มีเงิ นไปทำทุนต่อยอดอาชีพอื่นกันต่อนะกรณีว่างง าน
หลักเกณฑ์และเงื่อนไขการเกิดสิทธิ จ่ายเงิ นสมทบมาแล้ว 6 เดือน ภายในระยะเวลา 15 เดือน ก่อนการว่างง านกับนายจ้างรายสุดท้าย หรือกรณีผู้ประกันตนว่างง านเนื่องจากเหตุสุดวิสัยมีระยะเวลาการว่างง านตั้งแต่ 8 วันขึ้นไป ผู้ประกันตนต้องขึ้นทะเบียนผู้ว่างง านผ่านระบบอินเทอร์เน็ต (เว็บไซต์ https://empui.doe.go.th)
ของสำนักง านจัดหาง านของรัฐภายใน 30 วัน นับแต่วันที่ลาออกหรือถูกเลิกจ้าง หรือสิ้นสุดสัญญาจ้างจึงจะมีสิทธิได้รับประโยชน์ทดแทนกรณีว่างง านนับแต่วันที่ 8 ของการว่างง านต้องรายง านตัวต ามกำหนดนัดผ่านระบบอินเทอร์เน็ตของสำนักง านจัดหาง านไม่น้อยกว่าเดือนละ 1 ครั้ง เป็นผู้มีความสามารถในการทำง าน และพร้อมที่จะทำง านที่เหมาะสมต ามที่จัดให้ต้องไม่ปฏิเสธการฝึกง าน
ผู้ที่ว่างง านต้องไม่ถูกเลิกจ้างเนื่องจากกรณี มีดังนี้
1 ทุจริตต่อหน้าที่กระทำผิดอาญาโดยเจตนาแก่นายจ้าง
2 จงใจทำให้นายจ้างได้รับความเสียหาย
3 ฝ่าฝืนข้อบังคับ หรือระเบียบเกี่ยวกับการทำง าน หรือคำสั่งอันชอบด้วยกฎหมายในกรณี ร้ายแรง
4 ละทิ้งหน้าที่เป็นเวลา 7 วันทำง านติดต่อกัน โดยไม่มีเหตุอันควร
5 ประมาทเลินเล่อเป็นเหตุให้นายจ้างได้รับความเสียห ายอย่ างร้ายแรง
6 ได้รับโทษจำคุ กต ามคำพิพากษา
7 ต้องมิใช่ผู้มีสิทธิได้รับประโยชน์ทดแทนในกรณีชราภาพ
เงิ นทดแทนในระหว่างการว่างง าน ดังนี้ กรณีถูกเลิกจ้าง…ได้รับเงิ นทดแทนระหว่างการว่างง านปีละไม่เกิน 180 วัน ในอัตราร้อยละ 50 ของค่าจ้างเฉลี่ย โดยคำนวณจากฐานเงิ นสมทบขั้นต่ำเดือนละ 1,650 บ าท และฐานเงิ นสมทบสูงสุดไม่เกิน 15,000 บ าทตัวอย่ างเช่น ผู้ประกันตนมีเงิ นเดือนเฉลี่ย 10,000 บ าท จะได้รับเดือนละ 5,000 บ าท (รายละเอียดย่อย ต ามด้านบน)
กรณีลาออกหรือสิ้นสุดสัญญาจ้างต ามกำหนดระยะเวลา…ได้รับเงิ นทดแทนระหว่างการว่างง านปีละไม่เกิน 90 วัน ในอัตราร้อยละ 30 ของค่าจ้างเฉลี่ย โดยคำนวณจากฐานเงิ นสมทบขั้นต่ำเดือนละ 1,650 บ าท และฐานเงิ นสมทบสูงสุดไม่เกิน 15,000 บ าท ตัวอย่ างเช่น ผู้ประกันตนมีเงิ นเดือนเฉลี่ย 10,000 บ าท จะได้รับเดือนละ 3,000 บ าท
ในกรณียื่นคำขอรับเงิ นทดแทนกรณีว่างง านเพราะเหตุถูกเลิกจ้าง หรือเหตุถูกเลิกจ้างและลาออกหรือ สิ้นสุดสัญญาจ้างเกินกว่า 1 ครั้ง ภายใน 1 ปีปฏิทินให้มีสิทธิได้รับเงิ นทดแทนทุกครั้ง รวมกันไม่เกิน 180 วัน แต่ในกรณียื่นขอรับประโยชน์ทดแทนในกรณีว่างง านเพราะเหตุลาออกหรือสิ้นสุดสัญญาจ้าง เกินกว่า 1 ครั้ง ภายใน 1 ปีปฏิทิน ให้มีสิทธิได้รับเงิ นทดแทนรวมกันไม่เกิน 90 วันหลักฐานที่ต้องใช้เพื่อขอรับประโยชน์ทดแทน กรณีว่างง านแบบคำขอรับประโยชน์ทดแทนกรณีว่างง าน (สปส. 2-01/7)
หนังสือรับรองการออกจากง านหรือสำเนาแบบแจ้งการลาออกจากง านของผู้ประกันตนออกจากง านของผู้ประกันตน (สปส. 6 -09) กรณีที่ไม่มีสำเนา สปส.6-09 ก็สามารถไปขึ้นทะเบียนกรณีว่างง านได้
หนังสือหรือคำสั่งของนายจ้างให้ออกจากง าน (ถ้ามี) หนังสือรับรองการขอรับประโยชน์ทดแทนในกรณีว่างง าน เนื่องจากเหตุสุดวิสัยกรณีเป็นผู้ประกันตนกรณีว่างง านเนื่องจากเหตุสุดวิสัยสำเนาสมุดบัญชีเงิ นฝากธนาคารประเภทออมทรัพย์หน้าแรกซึ่งมีชื่อและเลขที่บัญชีของผู้ประกันตน ผ่าน 11 ธนาคาร ดังนี้
1) ธนาคารกรุงไทย จำกัด(มหาชน) 2) ธนาคารกรุงศรีอยุธย า จำกัด(มหาชน)
3) ธนาคารกรุงเทพ จำกัด(มหาชน) 4) ธนาคารไทยพาณิชย์ จำกัด(มหาชน)
5) ธนาคารกสิกรไทย จำกัด (มหาชน) 6) ธนาคารทหารไทย จำกัด(มหาชน)
7) ธนาคารธนชาต จำกัด (มหาชน) 8) ธนาคารซีไอเอ็มบีไทย จำกัด (มหาชน)
9) ธนาคารอิสลามแห่งประเทศไทย 10) ธนาคารออมสิน
11) ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร (ธ.ก.ส.)
สถานที่ยื่นเรื่อง
1 ผู้ประกันตนต้องขึ้นทะเบียนผู้ว่างง านและรายง านตัวผ่านระบบอินเตอร์เน็ต(เว็บไซต์ www.empui.doc.go.th) ของสำนักง านจัดหาง านของรัฐภายใน 30 วัน นับแต่วันที่ถูกเลิกจ้างหรือลาออก หรือสิ้นสุดสัญญาจ้าง และรายง านตัวต ามกำหนดนัด เพื่อมิให้เสียสิทธิในการรับเงิ นทดแทน
2 ยื่นแบบคำขอรับประโยชน์ทดแทนกรณีว่างง าน (สปส. 2-01/7) ได้ที่สำนักง านประกันสังคมกรุงเทพมหานครพื้นที่/สำนักง านประกันสังคมจังหวัดและสาข าทั่วประเทศ (ยกเว้น สำนักง านใหญ่ในบริเวณกระทรวงสาธารณสุข) สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม โทรสายด่วน 1506 ในวันและเวลาราชการ 08.30-16.30 น.
หมายเหตุ : ประโยชน์ทดแทนทุกกรณีเมื่อมีสิทธิต้องยื่นเรื่องรับเงิ นภายใน 2 ปี เว้นแต่ กรณีว่างง านผู้ประกันตนจะต้องยื่นขึ้นทะเบียนว่างง านที่สำนักง านจัดหาง านของรัฐ ต้องยื่นสิทธิภายใน 30 วัน หลังจากถูกเลิกจ้างหรือลาออกจากง าน หากยื่นสิทธิเกินกว่า 30 วัน จะไม่ได้รับสิทธิย้อนหลัง และหากยื่นสิทธิเกินวันที่จะได้รับสิทธิไปแล้ว จะไม่ได้รับสิทธิประโยชน์ทดแทนกรณีว่างง านที่มา สำนักง านประกันสังคม
สรุป ใครที่ถูกเลิกจ้าง / สิ้นสัญญา / ลาออก แต่ส่งเงิ นสมทบมาแล้วไม่น้อยกว่า 6 เดือน ภายในระยะเวลาย้อนหลัง 15 เดือน ก็สบ ายใจได้ เพราะในช่วงที่คุณกำลังหาง านใหม่ เรามีเงิ นชดเชยและสิทธิประโยชน์อื่นๆ พร้อมดูแลคุณ! โดยสิทธิประโยชน์ที่คุณจะได้รับ #กรณีว่างง าน มีดังนี้
กรณีถูกเลิกจ้าง : ได้รับเงิ นทดแทนระหว่างว่างง านปีละไม่เกิน 180 วัน ในอัตรา 50% ของค่าจ้าง โดยฐานเงิ นสมทบสูงสุดไม่เกิน 15,000 บ าท เช่น มีเงิ นเดือน 10,000 บ าท จะได้รับเดือนละ 5,000 บ าท หรือถ้ามีเงิ นเดือนมากกว่าหรือเท่ากับ 15,000 บ าท ก็จะได้เงิ นเดือนที่คิดจากฐานไม่เกิน 15,000 บ าท ซึ่งก็คือ 7,500 บ าท
กรณีลาออกหรือสิ้นสัญญาจ้าง : ได้รับเงิ นทดแทนระหว่างว่างง านปีละไม่เกิน 90 วัน ในอัตรา 30% ของค่าจ้าง โดยฐานเงิ นสมทบสูงสุดไม่เกิน 15,000 บ าทเช่นกัน เช่น มีเงิ นเดือน 10,000 บ าท จะได้รับเดือนละ 3,000 บ าท
นอกจากนี้ยังสามารถใช้สิทธิประกันสังคมต่อได้อีก 6 เดือน กรณีเจ็บป่ วย ทุพพลภาพ คลอดบุตร และเสียชีวิต โดยไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายด้วยค่ะ
ประโยชน์แก่ผู้ประกันตน ที่น้ อย คนจะรู้ถึงสิทธิประโยชน์และไม่ค่อยมีคนทราบมากนัก เกี่ยวกับเงิ นทดแทนสำหรับผู้ต กง าน ลูกจ้างต้องรู้ ใครที่ต กง าน เลิกจ้าง ลาออก ขอให้เราศึกษา และรัก ษา สิทธิ์ของตนนะคะ
เรียบเรียง เพจ1ไร่ไม่จน