Tuesday, 23 April 2024

จำไว้ใช้ยามฉุกเฉิน เทคนิคการเอาตัวรอด เมื่อเกิดหัวใจล้มเหลว

สวัสดีครับวันนี้เรามีเนื้อหาดีๆมานำเสนอ ที่เผยแผร่โดยคุณ Namfon Goethe S ซึ่งเป็นเรื่องเกี่ยวกับกรณีการจากไปของเพื่อน ที่ร่างกายแข็งแรง แต่ต้องมาจากไปเพราะหัวใจล้มเหลวเฉียบพลัน ซึ่งเพื่อนคุณฝน จิมมี่ร่างกายแข็งแรงมาตลอด ออกกำลังกายสม่ำเสมอๆ เสียชีวิตด้วยอาการหัวใจล้มเหลว

คุณ Namfon Goethe S จึงอยากให้ทุกคนช่วยอ่านบทความนี้ โดยพยาบาลวิสัญญี ศิริราชส่งมาให้ อ่านเป็นความรู้ สมมุติว่าเป็นเวลา หกโมงเย็น และคุณกำลัง ขับรถกลับบ้านคนเดียว หลังจากเลิกงาน แล้วคุณรู้สึกเหนื่อยล้า และคับข้องใจเป็นอย่างมาก คุณรู้สึกเครียด กดดัน และโกรธจัด

ทันใดนั้น .. จู่ๆ คุณก็รู้สึกเจ็บที่หน้าอก อย่างรุนแรงและเฉียบพลัน และความเจ็บนั้น เริ่มแผ่กระจายไปตาม แขนและลามขึ้นมาถึง ขากรรไกรของคุณ ถึงแม้คุณอยู่ห่าง จากโรงพยาบาลที่ใกล้บ้านคุณที่สุด เพียงแค่ 8 กิโลเมตรกว่าๆเท่านั้น

แต่คุณก็ไม่รู้ว่า คุณจะขับรถไปถึงโรงพยาบาลไหวหรือไม่ แล้วคุณจะทำอย่างไรดีล่ะ คุณเคยได้รับการ อบรมเรื่องการผายปอด และนวดหัวใจให้กับผู้ป่วย ..แต่ผู้อบรมไม่ได้ บอกวิธีการปฐมพยาบาล ตนเองเวลาเกิดเหตุฉุกเฉินเช่นนี้

คุณจะเอาชีวิตรอด อย่างไรเมื่อเกิดหัวใจ ล้มเหลวกระทันหัน ขณะกำลังอยู่คนเดียว..หลายๆคนอาจ เกิดภาวะหัวใจล้มเหลว เฉียบพลันขณะอยู่คนเดียว โดยไม่มีใครช่วยเหลือได้ และคนที่มีภาวะหัวใจเต้นผิดปกติ เช่นนี้

จะมีเวลาเพียง แค่10 วินาที เท่านั้น ก่อนที่จะหน้ามืดและ หมดสติ “หัวใจล้มเหลว เวลาอยู่คนเดียว จะทำอย่างไร?” อย่าตื่นตระหนก คุณสามารถช่วยเหลือ ตนเองได้ด้วยการไอแรงๆหลายๆ ครั้งติดต่อกัน สูดลมหายใจลึกๆ ก่อนการไอแต่ละครั้ง

ต้องไอให้ยาวๆ ลึกๆ เหมือนตอนคุณพยายาม ขับเสมหะที่ติดอยู่ในลำคอลึกๆออกมานั่นแหละ การหายใจลึกๆและไอแรงๆ จะต้องกระทำต่อเนื่องทุก 2 วินาที ( *ย้ำ ทุกๆ 2 วินาที ) จนกว่าคุณจะได้รับการช่วยเหลือจากแพทย์ หรือจนกว่าคุณจะรู้สึกว่าหัวใจกลับสู่การเต้นที่เป็นปกติอีกครั้ง …

การหายใจลึกๆ จะช่วยให้ปอดได้รับออกซิเจน ส่วนการไอเเรงๆนั้นจะทำให้เกิดแรงกระเทือน ที่ไปช่วยบีบหัวใจ และช่วยให้เลือดหมุนเวียนได้ และแรงบีบหัวใจจากการไอนี้ จะช่วยให้หัวใจกลับสู่การเต้นปกติได้ การทำเช่นนี้จึงทำให้ผู้ประสบอาการหัวใจ ล้มเหลวสามารถพาตัวเองไปถึงโรงพยาบาลได้

หัวใจล้มเหลวอาจเกิดได้ทั้งช่วงที่หัวใจบีบเลือดเข้า (systolic)หรือช่วงที่หัวใจคลายตัว (diastolic)ทั้งสองอย่างเชื่อมโยงกับอาการเสียหายบางประการของหัวใจห้องด้านซ้ายล่าง

บทความนี้ได้รับการ ตีพิมพ์ในเอกสาร Gournal of General hospitol Rochester บอกต่อคนที่คุณ รู้จักให้มากที่สุดเท่าที่คุณสามารถทำได้ เผื่อว่ามันอาจจะช่วยชีวิตของพวกเขาได้. อย่าประมาท ! คิดว่าหัวใจล้มเหลว ไม่มีทางเกิดขึ้นกับคุณ

ทุกวันนี้สภาพการ ใช้ชีวิตในยุคปัจจุบัน ทำให้คนเกิดภาวะหัวใจล้มเหลวเฉียบพลัน สามารถเกิดกับคนได้ทุกวัยขอบคุณบทความดีดีจากเพื่อนกุ้งจ้าาา ขอขอบคุณข้อมูลดีๆจาก:คุณ Namfon Goethe S

Facebook Comments Box