เด็กเรียนไม่เก่งแต่จบป.เอก เ งิ น 100 ล้านเหลือ 2 พัน เปิดใจ “ดร.เกริก มีมุ่งกิจ”

มีคำกล่าวว่า “ชี วิ ตคนสามารถเปลี่ยนแปลงได้ภายใน 2 วิฯ…”

วิฯ ที่ว่า ไม่ใช่ “วินาที” แต่มาจาก “วิกฤติ” และ “วิสัยทัศน์” ซึ่งรู้ไหมว่า

คนส่วนใหญ่เปลี่ยนเพราะเจอ “วิกฤติ”

วันนี้แอดมินมีเรื่องราวชี วิ ต ชาวเกษตรอีกหนึ่งท่านที่ชี วิ ตผกผัน ผ่าวิกฤติมาหลากหลาย

ท่าน “ดร.เกริก มีมุ่งกิจ” ประธานกรรมการบริหารธนาคารต้นไม้ระดับชาติ และ ผู้ร่วมก่อตั้งโครงการ “คนกล้าคืนถิ่น” ที่ชวนกลับบ้านพัฒนาท้องถิ่นอีกด้วย

แค่ก้าวแรกที่ลงจากรถ ก็พบบ้านหลังน้อย แวดล้อมด้วยแมกไม้นานาชนิด เสียงเป็ด ห่าน ทักทาย “อาสามฯ” และทีมงา น ถือวิสาสะเดินเข้าบ้านชะโงกมอง ก็พบกับ ดร.เกริก ออกมาต้อนรับอย่างอบอุ่น จากนั้นก็ไม่รอช้า หาที่ทางได้ก็เริ่มบทสนทนากันทันที…

ดร.เกริก เริ่มเล่าย้อนความหลังด้วยสีหน้าเปื้อนยิ้มว่า บ้านเกิดอยู่ที่ จ.ปราจีนบุรี อำเภอศรีมโหสถ ก็แค่ลูกเกษตรธรรมดา พ่อแม่ทำไร่ ทำนา ทำสวน ทำให้ผมชอบทำเกษตรตั้งแต่เด็ก ฐานะก็ย ากจน แต่ท่านก็อย ากให้เรียนหนังสือ เชื่อมั้ย…ว่าผมมีชุดนักเรียนแค่ชุดเดียว ต้องกลับบ้านและซักต ากทุกวัน วันไหนอย ากให้เสื้อเรียบ ก็พับไว้ใต้หมอน แทนการรีดผ้า…!

เป็นอย่างไรบ้างครับ แค่เริ่มต้นจาก เด็กชายเกริก เรื่องราวก็น่าสนใจแล้วใช่ไหมครับ ถ้างั้นไม่ต้องรอช้า เรามาต่อกันเลย…

“พ่อผมไม่อย ากให้ผมเป็นเกษตรกร เพราะงา นเกษตรมันงา นหนัก ช่วงหนึ่งผมไม่ไปเรียน ท่านจึงใช้งา นผมอย่างหนักให้ทำงา นตั้งแต่เช้าจนมืด ท่านไม่ได้โหดร้ายกับเรา แค่อย ากจะบอกเราว่าทำเกษตรมันหนัก เหนื่อย และมันจน นี่คือ กุศโลบ ายที่อย ากให้เรากลับไปเรียนหนังสือ ซึ่งก็ได้ผล ผมกลับไปเรียนหนังสืออีกครั้ง”

ดร.เกริก เริ่มเรียนที่ โรงเรียนเทวรักษ์โคกวัด เป็นโรงเรียนคาทอลิก อยู่ที่ จ.ปราจีนบุรี ทำให้นับถือศาสนาคริสต์ จากนั้นได้ย้ายไปที่โรงเรียนประชาสงเคราะห์หัวไผ่ จ.ชลบุรี ต่อด้วย โรงเรียนดาราสมุทรศรีราชา จ.ชลบุรี และจบที่ โรงเรียนอัสสัมชัญศรีราชา จ.ชลบุรี ซึ่งผมเองสอบชิงทุนได้

ดร.เกริก บอกกับ อาสามฯ ว่า เข าไม่ใช่คนเก่ง แต่ที่เรียนดีในสมัยก่อนเพราะสมัยนั้นเรียนง่าย ตำราที่ใช้ก็ชัดเจน ไม่ได้มีมากมายเหมือนปัจจุบัน

“ผมเรียนอยู่ชั้นมัธยมต้น ผมเรียนแย่มาก สอบตกแล้ว ตกอีก คือสอบตกเป็นว่าเล่น เพราะผมไม่ชอบเรียน ไม่เคยวางเป้าหมายเลยว่าชี วิ ตนี้อย ากจะทำอะไร ก็เลยเรียนแย่แบบนี้มาตลอด แต่พอมาถึงจุดหนึ่งที่คิดว่า เราต้องเรียนแล้ว จึงคิดหาวิธี เรียนอย่างไรให้ได้ดี”

สมัยนั้น 1 วิชาจะมีหนังสือ 1 เล่ม/เทอม สมมติว่าหนังสือ 1 เล่มมี 100 หน้า จากนั้นก็มาคำนวณเวลาเรียนว่า 1 วิชาเราเรียนกี่ชั่วโมง เรียนกี่สัปดาห์ สมมติว่า 1 วิชาเรียน 100 วัน จากนั้นนำจำนวนหน้าหนังสือหารด้วยจำนวนวันที่เรียน ตัวเลขที่ได้ออกมาหมายถึง ผมต้องอ่านหนังสือวันละกี่หน้า เช่น 100 หาร 100 เท่ากับ 1 แสดงว่า ต้องอ่านหนังสือ วันละ 1 หน้า ใช้วิธีนี้กับทุกวิชา อ่านหนังสือทุกวัน อ่านไม่เข้าใจผมก็อ่านใหม่ อ่านซ้ำจนกว่าจะเข้าใจ ถ้าไม่เข้าใจจริงๆ ผมจะขีดเส้นใต้ตรงที่ไม่เข้าใจไว้รอถามอาจารย์ นี่คือวิธีที่ผมใช้ในสมัยนั้นเรียน แต่ปัจจุบันคงเอามาใช้ไม่ได้ เนื่องจากปัจจุบันมีหลักสูตรการเรียนที่ไม่แน่นอน

ปราชญ์แห่งวนเกษตร เล่าต่อว่า หลังจากเรียนจบ ม.6 ต่อ มศว บ างแสน หรือ มหาวิทย าลัยบูรพา ในปัจจุบัน จากนั้นก็เรียนจนจบปริญญาตรี 4 ใบ เอกอังกฤษ เอกภาษาไทย นิติศาสตร์ รัฐศาสตร์ ส่วนปริญญาโท จบคณะบริหารการศึกษา และปริญญาเอกที่ฟิลิปปินส์ สาข า “วนเกษตร”

เป็นอย่างไรบ้างครับ สูตรลับฉบับ ดร.เกริก พอจะมาปรับใช้ให้กับการเรียนในยุคใหม่บ้างหรือไม่ ใครที่เรียนไม่เข้าใจลองเอาสูตรนี้ไปลองดูก็ได้ ดร.เกริก ไม่หวง…

เมื่อ ดร.เกริก ได้เล่ามาถึงจุดนี้ ทางทีมข่าวฯ จึงมีความสงสัยว่า ทำไมปริญญาเอกต้องเลือกเรียนวนเกษตร ที่ประเทศฟิลิปปินส์ แล้ววนเกษตรที่เข าเรียนๆ กันมันคืออะไร ดร.เกริก ยิ้มรับ ก่อนอธิบ ายให้ อาสามฯ และ ทีมข่าวเฉพาะกิจไทยรัฐออนไลน์ฟังว่า “วนเกษตร” เป็นการเรียนเกี่ยวกับต้นไม้ สาเหตุที่เลือกเรียนวนเกษตร เพราะเป็นวิชาที่ผมชอบ และที่เลือกเรียนที่ประเทศฟิลิปปินส์ เพราะประเทศไทยเราไม่มีคณะนี้ ประกอบกับประเทศฟิลิปปินส์ เป็นประเทศที่มีความคล้ายคลึงประเทศไทยมากที่สุดในเรื่องของต้นไม้ ภูมิอากาศ ความร้อนชื้น ที่สำคัญ ฟิลิปินส์มีหลักสูตรการเรียนการสอนที่หลากหลาย บ างคนไปเรียนรู้เรื่องเกษตรที่คนละซีกโลก พอเอามาใช้มันทำให้เกษตรกรไทยเกิดความเสียหาย เพราะที่เข าเรียนนั้นมีสภาพแวดล้อมต่างจากประเทศไทยมาก

วิกฤติชี วิ ต จากรวยร้อยล้าน กับอาชีพนายหน้า สุดท้ายจบลงที่วิถีพอเพียง มีความสุขแบบมั่งคั่ง

อย่างไรก็ต าม ชี วิ ตของ ดร.เกริก ก็ไม่ได้สวยหรู และจำเป็นต้องเปลี่ยนแปลงภายใน 1 วิ เช่นเดียวกับคนส่วนใหญ่ นั่นก็คือ “วิกฤติ”

ดร.เกริก หลังจากเรียนรู้ทางด้านเกษตรจบมาจากต่างประเทศ ก็ได้เริ่มอาชีพแรก คือ “พ่อพิมพ์ของชาติ” เข าเริ่มต้นชี วิ ตครู ด้วยการสอนวิชาอังกฤษ ที่โรงเรียนสันติภาพฉะเชิงเทรา จ.ฉะเชิงเทรา จากนั้น มาสอนที่ โรงเรียนดาราสมุทร ต่อด้วย ที่โรงเรียนอัสสัมชัญศรีราชา และเป็นครูสอนพิเศษบ้าง แต่ก็เจอคู่แข่งสำคัญคือ “เจ้าของภาษา” ซึ่งชาวต่างชาติเริ่มเข้ามาสอนในเมืองไทยมากขึ้น จึงหันเหมาสอนวิชาภาษาไทย เป็นอาจารย์พิเศษ มศว บ างแสน บ้าง ในขณะเดียวกัน ก็ทำอาชีพนายหน้าที่ดินด้วย จับมาข ายไป รายได้เป็นกอบเป็นกำ จากคนเป็นครูสู่อาชีพนายหน้า ทำให้ ดร.เกริก กลายเป็น “เสี่ยเกริก” รวยอู้ฟู่นับร้อยล้าน แต่มีหรือจะสะกดคำว่า “พอ” ได้

“ชี วิ ตนายหน้าเริ่มจากมีผู้ปกครองนักเรียนคนหนึ่งโทรหาให้ผมหาที่ดินให้ ทำเลไหนดี ซื้อและมัดจำให้ เพียง 4-5 ปี ผมมีรายได้เกือบ 100 ล้าน ไม่ได้คุยโม้ ตอนนั้น ผมมีชื่อติด 1 ใน 10 คนหนุ่มที่รวยที่สุดในศรีราชา…แต่ความโลภ มันสั่งให้ไม่ยอมหยุด อย ากได้เพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ กระทั่งก้าวพลาดครั้งใหญ่ กับที่ดินมูลค่า 1,400 ล้าน ลูกค้ายืนยันว่าจะซื้อในราคา 2,400 ล้าน ถ้าข ายได้แปลว่าจะมีกำไรนับพันล้านบ าท เดิมพันครั้งนี้จึงเทด้วยเ งิ นหมดหน้าตักด้วยการวางเ งิ นมัดจำ 240 ล้านบ าท แต่แล้วทุกอย่างไม่ได้เป็นอย่างที่คิด ลูกค้าที่ตกลงบอกจะซื้อก็หายไป ลูกค้าคนอื่นที่ผมหาสำรองไว้ก็ไม่ซื้อ เมื่อไม่มีคนซื้อเ งิ นที่ผมและเพื่อนที่มัดจำไปก็หายเกลี้ยงในพริบต าเดียว ผมกลายเป็นคนไม่เหลืออะไร ข าดทุนย่อยยับ เพราะเ งิ นที่ผมเคยมีก็เอาไปมัดจำหมด เพื่อนที่ร่วมหุ้นกับผมก็ข าดทุนไปต ามๆ กัน”

อดีตคนหนุ่มที่รวยติดอันดับในศรีราชา กลายเป็นย าจกเพียงชั่วข้ามคืน ดร.เกริก ยอมรับว่าช่วงนั้นเสียใจมาก ลองคิดต าม จากคนที่รวยขนาดนั้น แต่ตกลงมาสู่จุดที่หมดตัวเป็นใครก็ต้องเสียใจ บ างคนทำใจไม่ได้ด้วยซ้ำ ต้องจากไปก่อนวัยอันควรก็มี แต่ด้วยความที่ผมเติบโตมาแบบไม่มีอะไร เมื่อผมหมดตัว ไม่มีเ งิ น ผมก็แค่กลับมาอยู่ในสภาพเดิม

“ดีแล้วที่ตกลงมาจะได้เข็ดกับความโลภสักที”…นี่คือเสียงภรรย าที่เตือนสติในวันที่ไม่เหลืออะไร ดร.เกริก กล่าวต่อว่า การที่ข าดทุนจนหมดตัว ผมว่ามันเป็นบทเรียนครั้งยิ่งใหญ่ ที่สอนผม เปลี่ยนทัศนคติ ทำให้ผมคิดได้ว่า เ งิ นและความโลภไม่เคยทำให้มีความสุข ชี วิ ตที่มีตอนนั้นหลงลืมครอบครัว มัวแต่คิดว่าจะหาเ งิ นเพิ่มยังไง เวลาให้ครอบครัวก็ไม่มี มัวแต่นัดเจอใครก็ไม่รู้ คุยแต่เรื่องซื้อข าย ยังดีที่มีภรรย าที่ดี ได้ลูกที่ดี เข าไม่เคยซ้ำเติมเลยแต่ก็ได้เตือนสติเรื่องความโลภ

บ างคนมีเ งิ นเข าอาจจะมีความสุข แต่มันไม่เสมอไป เพราะคนมีเ งิ นจะทุกข์กว่าคนไม่มีเ งิ น เข าจะต้องคิดหาวิธีว่าในแต่ละวันจะเพิ่มเ งิ นได้อย่างไร จากประสบการณ์ที่ผ่านมา ผมยังไม่เคยเห็นคนที่มีเ งิ นแล้วจะพอ เห็นมีแต่จะเพิ่มเ งิ นกัน เพราะนี้คือมนุษย์ ที่มีกิเลสครอบงำ มีความอย ากที่ไม่มีวันสิ้นสุด

ดร. เกริก เล่าชี วิ ตหลังผ่านมรสุม ว่า จากเรื่องราวอันเลวร้าย ก็มาอยู่ที่จุดสมดุล จึงมานั่งคิดว่าจะทำอย่างไรให้เรามีความสุขในตอนนี้และบั้นปลายชี วิ ต จึงเลือกที่จะใช้ชี วิ ตแบบพอเพียงต ามแนวพระราชดำรัสของในหลวง นั่นคือ กลับไปทำเกษตร ผมเชื่อว่าเกษตรกรเป็นอาชีพที่มั่นคง ไม่ต้องไปแย่งใครทำ ไม่ต้องแข่งขัน และที่สำคัญคือ เป็นอาชีพที่ชอบมาตั้งแต่เกิด จากนั้นจึงเริ่มวางแผน โดยใช้เวลาถึง 3 ปี จึงก้าวมาเป็นเกษตรกรเต็มตัว

แผนที่วาง ใช้หลักการเดียวกันกับในหลวง ท่านทรงสอนมาตลอด เพราะคิดไว้แล้วว่าจากนี้ จะ “เริ่มใช้ชี วิ ตจากสิ่งที่มี ไม่เอาเ งิ นมาเป็นตัวตั้ง แต่ผมจะเอาความสุขเป็นตัวตั้ง” โดยเริ่มพิจารณาก่อนว่า เรามีอะไร มีความเสี่ยงคืออะไร ซึ่งตอนนั้น สิ่งที่ผมมีคือ ผมมีเ งิ นติดตัว 2,800 บ าท มีหนี้เหลืออยู่จำนวนหนึ่ง มีที่ดินที่ญาติพี่น้อง ให้ผมเช่าไร่ละ 1 พันบ าทต่อปี ถึงตอนนี้ผมก็ไม่มีที่ดินของตัวเอง เมื่อผมรู้ว่าผมมีอะไรผมก็เริ่มวางแผน โดยแผนที่ผมคิดมีอยู่ 4 ระยะ คือ ระยะสั้น ระยะกลาง ระยะย าว ระยะถาวร โดยมีรายละเอียดแผนต่อไปนี้

แผนระยะสั้น แผนเดือนต่อเดือน โดยจะวางแผนว่าในแต่ละเดือนในแต่ละวันผมจะทำอะไรบ้าง ซึ่งสิ่งที่ทำในแผนนี้คือ ผมเริ่มหารายได้จากการเก็บกิ่งไม้ที่เข าตัดแต่งกิ่งจากสวนลำไย สวนเงาะ หรือที่เข าทิ้งขว้างมาใช้ให้เกิดประโยชน์ โดยนำมาเผาถ่าน และผลิตน้ำส้มควันไม้

แผนระยะกลาง 1-3 ปี ใช้เวลาว่างจากการเผาถ่าน ผลิตน้ำส้มควันไม้ ผมจะใช้เวลาว่าง ปลูกต้นไม้ กวาดใบไม้ และตัดหญ้าที่มีอยู่ในพื้นที่ของเรา เพื่อนำมาผลิตปุ๋ยอินทรีย์ เพาะต้นกล้าเพื่อเตรียมไว้ปลูกในคราวต่อไป และปลูกข้าว ปลูกผักสวนครัว

แผนระยะย าว ตั้งแต่ 10 ปีเป็นต้นไป สิ่งที่จะต้องเพิ่มเข้ามาคือ เริ่มปลูกไม้ให้มีความหลากหลายมากขึ้น เลี้ยงสัตว์ ผลิตอาหารสัตว์

แผนสุดท้ายระยะถาวร ตั้งแต่ 15 ปี ไปจนตลอดชี วิ ตและลูกหลาน คือ การนำไม้ที่เราปลูกมา ดัดแปลง แปรรูป ทำเป็นเฟอร์นิเจอร์ นำมาสร้างบ้าน แต่ผมจะเก็บต้นไม้ใหญ่ไว้ที่มีราคาแพง โดยผมจะปลูกพริกไทยติดกับต้นไม้ใหญ่ไว้ทุกต้นเพื่อสร้างรายได้ในอนาคต

“แผนทั้งหมดที่คิดขึ้นมา ผมทำและใช้มาโดยตลอด จนมาถึงปัจจุบันก็ยังดำเนินต ามแผนอยู่ โดยสิ่งที่ผมทำอยู่ตอนนี้คือ เผาถ่าน ทำน้ำส้มควันไม้ เพาะพันธุ์ต้นไม้ ปลูกข้าว ขณะนี้ทำมาได้ 9 ปีแล้วและเริ่มจะเข้าสู่แผนระยะย าว และจากการดำเนินต ามแผนมา 9 ปี ผมได้พบกับความสุขที่แท้จริงแล้ว ผมรู้สึกว่า การทำเกษตรทำให้ผมอิ่มตัว ได้เจอความสมดุลในชี วิ ต เพราะผม พอมี พอใจ พอเพียง มีความสุข แค่นี้ผมก็พอแล้ว” ดร.เกริก กล่าว

เด็กเรียนไม่เก่งแต่จบป.เอก เ งิ น 100 ล้านเหลือ 2 พัน

ลดทุนนิยม เพิ่มความมั่งคั่ง ถอดองค์ความรู้ ดร.เกริก ปธ.ธนาคารต้นไม้

เรียบเรียงข้อมูลโดย : เพจเกษตรบ้านทุ่ง

Facebook Comments Box