Friday, 26 April 2024

พระนักพัฒนา “พระครูวิมลปัญญาคุณ” เจ้าอาวาสวัดป่าศรีแสงธรรม ผู้ก่อตั้ง โรงเรียนเสียดายแดด

04 Jun 2022
17

“พระครูวิมลปัญญาคุณ” พระนักพัฒนา เจ้าอาวาสวัดป่าศรีแสงธรรม ผู้ก่อตั้ง โรงเรียนเสียดายแดด

วันนี้เราจะมาติดตามเรื่องราวของ พระครูวิมลปัญญาคุณ เจ้าอาวาสวัดป่าศรีแสงธรรม อ.โขงเจียม จ.อุบลราชธานี หรือหลายคนเรียกท่านว่า พระอาจารย์ เดิมทีท่านพระครูเป็นคน อ.กันทรารมย์ จ.ศรีสะเกษ ครอบครัวมีปัญหาทำให้ท่านออกจากโรงเรียนตั้งแต่เด็ก

ปัจจุบันกระแสรักสิ่งแวดล้อมและการหันมาหาพลังงา นทดแทนกลายเป็นเรื่องที่คนทั่วโลกให้ความ

สนใจ โดยเฉพาะกระแสการใช้ “พลังงา นแสงอาทิตย์” ซึ่งเป็นหนึ่งในแหล่งพลังงา นหมุนเวียนที่ไม่มีวันหมด

และเป็นแหล่งพลังงา นที่ใหญ่ที่สุดของมนุษย์

พลังงา นแสงอาทิตย์เป็นพลังงา นจากธรรมชาติที่เราสามารถนำมาใช้ได้อย่างเท่าเทียมกัน ใน

อดีตหลายคนอาจมองข้ามการนำพลังงา นแสงอาทิตย์มาใช้เพราะเห็นว่ามีต้นทุนสูง คิดว่าไม่คุ้มค่ากับการ

ลงทุนไปจนถึงความคิดที่ว่าติดตั้งอุปกรณ์หรือแผงโซล่าเซลล์ได้ยาก แต่ในปัจจุบันการใช้พลังงา นแสง

อาทิตย์สามารถเข้าถึงได้ง่ายขึ้น ไม่ว่าจะเป็นอาคารบ้านเรือนในเมืองใหญ่หรือแม้แต่บ้านสวน ไร่นา

ก็สามารถใช้พลังงา นแสงอาทิตย์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ

เมื่อท่านออกมาใช้ชี วิ ตบนโลกเพียงลำพังจึงทำให้ท่านเริ่มมองสิ่งต่างๆรอบตัวว่าทำไมโลกใบนี้ถึงต้องการแค่ วัตถุนิยม แสวงหาแต่เ งิ น ไม่มีความสงบสุขที่แท้จริง

เพราะเหตุนี้พระครูวิมลจึงตัดสินใจออกบวชและเริ่มหาคำตอบต่างๆโดยใช้ธรรมะเป็นตัวขัดเกลา โดยท่านพระครูปฏิบัติธรรมอย่างเคร่งครัดที่วัดป่าสุขสมบูรณ์ จ.ร้อยเอ็ด ต่อมาเมื่อท่านจำพรรษาครบ 7 พรรษา จึงมีผู้ใจบุญบริจาคที่ดินที่ อ.โขงเจียม จ.อุบลฯ ท่านจึงถูกย้ายให้มาจำพรรษาที่วัดป่าแสงธรรมเพียงรูปเดียว

ตลอดระยะเวลาที่ท่านจำพรรษาเหล่าญาติโยมก็มีจิตศรัทธาบริจาคปัจจัยให้อย่างเนื่อง ท่านจึงมองปัจจัยทั้งหมดแล้วคิดว่าจะจัดการนำปัจจัยเหล่านี้ไปใช้อะไรให้เกิดประโยชน์แก่สังคมมากที่สุด เลยทำให้เป็นที่มาของโรงเรียนศรีธรรม

โรงเรียนที่จะช่วยสร้างชาติให้เข้มแข็ง โดยโรงเรียนจะเปิดสอนทั้งระดับมัธยมต้นและมัธยมปลาย สายวิทย์-คณิต ในปัจจุบันมีนักเรียนประมาณ 200 คนซึ่งโรงเรียนศรีแสงธรรมจะเน้นหลักการสอนโดยให้นักเรียนได้มีโอกาสลงมือปฏิบัติจริงเพื่อให้วิทยาศาสตร์ใกล้ชิดกับเด็пมากที่สุด เป็นการปลูกว่า เรียนไปได้ใช้จริง

ต่อมาในยุคที่รัฐบาลมีการแจกแผงโซล่าเซลล์ขึ้นพระครูวิมลจึงนำแผงโซล่าเซลล์เข้ามามีส่วนร่วมในการเรียนการสอนในห้องเรียน โดยจะพาเด็пนักเรียนรู้ประโยชน์ของโซล่าและสอนเด็пติดตั้งเพื่อใช้ประโยชน์ในโรงเรียน

จึงเป็นที่มาของคำว่า โรงเรียนเสียดายแดด เพราะโรงเรียนได้นำความรู้ที่ได้จากการศึกษาโซล่าเซลล์มาต่อยอดเป็นพลังงา นทดแทนไว้ใช้ในโรงเรียน และสร้างระบบ Smart Farm , รถเข็นนอนนา(สถานีไฟฟ้าเคลื่อน),รถไฟฟ้า Ev Car จากแผงโซล่าเซลล์ เป็นต้น

นอกจากนี้พระอาจารย์ยังพัฒนาพื้นที่โดยรอบโรงเรียนให้เป็นแปลงเกษตรไม่ว่าจะเป็น โครงการปลูกเห็ดเจ็ดชั่วโคตร, การปลูกพืชผักสวนครัว, การปลูกป่ามิยาวากิ (การปลูกป่าแบบยั่งยืน) และยังสร้างบ้านพักครูและอาคารเรียนด้วยดินกับแกลบเป็นลดงบประมาณของโรงเรียนและเป็นการใช้วัสดุธรรมชาติมาใช้ประโยชน์ให้สูงที่สุด

พระอาจารย์วิมล ยังย้ำท้ายว่า สิ่งที่พระครูคิดเป็นการรະเบิดจากข้างใน รู้เท่ารู้ทัน รู้เขารู้เรา รู้เหตุรู้ผล รู้ตนรู้ประมาณ รู้การรู้ชุมชน เป็นปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง หลัก 3 ห่วง 2 เงื่อนไข ซึ่งทั้งหมดนี้เราสามารถทำได้จริง ปรัชญาจะไม่ใช่แค่ปรัชญา ถ้าหากเราไม่ลงมือทำ

แหล่งที่มา : viralsfeedpro

เรียบเรียงข้อมูลโดย : เพจเกษตรบ้านทุ่ง

Facebook Comments Box